เป้าหมาย (Understanding Goal): เข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ของการกระทำที่ส่งผลต่อเหตุการณ์ที่เกิดจากการทำสงคราม การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีทักษะการคิดและการจัดการข้อมูลต่างๆ รวมทั้งเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสันติและภราดรภาพ

วันอังคารที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2559

Mian

หน่วยการเรียนรู้: "ทุ่งสังหาร "
Mind Mapping
คำถามหลัก (Big question): ทำไมมนุษย์ต้องฆ่ากันเอง?

ภูมิหลังของปัญหา
          มนุษย์ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒนาการขั้นสูง มีสมองขนาดใหญ่และซับซ้อนกว่าสัตว์ชนิดอื่น ด้วยเหตุนี้ มนุษย์จึงมักยกตัวเองให้สูงส่งกว่าสัตว์ชนิดใดๆ บนโลก มนุษย์รู้จักการสร้างที่อยู่อาศัย เมือง รวมตัวใหญ่ขึ้นเป็นสังคมและประเทศ สร้างระบบความคิด ความเชื่อ รวมถึงภาษา ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีของกลุ่ม แต่ธรรมชาติของมนุษย์ต้องการความมั่นคง ความรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เมื่อมนุษย์อยู่รวมกัน ติดต่อสัมพันธ์กัน ปัญหามักจะเกิดขึ้นตามมา ทั้งจากความคิดต่าง ศาสนาความเชื่อ  เชื้อชาติ การเมืองการปกครอง  แต่แทนที่จะแก้ปัญหาข้อขัดแย้งอย่างสันติ  บางครั้งมนุษย์กลับเลือกใช้วิธีที่รุนแรง ทำลายล้างซึ่งกันและกันเพื่อยุติปัญหานั้น และเหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นซ้ำๆ ทั้งสาเหตุและผล เปลี่ยนเพียงแค่ตัวบุคคลเท่านั้น
           ดังนั้น จึงจำเป็นที่นักเรียนจะต้องเรียนรู้สิ่งเหล่านี้ ที่ไม่ใช่เหตุผลที่เราต้องเรียนประวัติศาสตร์เพื่อแค่รู้ จำชื่อบุคคล หรือปีที่เกิดได้ แต่เพื่อป้องกันไม่ให้ประวัติศาสตร์เกิดขึ้นซ้ำรอยอีก รวมทั้งสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมปัจจุบันได้เป็นอย่างดี

เป้าหมายความเข้าใจ  (Understanding goals): เข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ของการกระทำที่ส่งผลต่อเหตุการณ์ที่เกิดจากการทำสงคราม การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีทักษะการคิดและการจัดการข้อมูลต่างๆ รวมทั้งเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสันติและภราดรภาพ


ปฏิทินการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย : “การจัดการชุดความรู้” ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
Week
Input
Process
Output
Outcome
1
11-15 ม.ค.
2559
โจทย์
- สร้างฉันทะ/ แรงบันดาลใจ
Key  Questions
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากเรื่องที่ได้ดู
เครื่องมือคิด
Show and Share
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการหนังที่ได้ดู
Round Table
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพสะเทือนใจ
Round Robin
การพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันจากเรื่องที่ฟัง ที่อ่าน
Card & Chart
เรื่องที่ต้องการเรียนรู้
Think  Pair Share
สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
Blackboard  Share
การตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
Brainstorms
ระดมความคิดเห็นเพื่อออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
Mind  Mapping
สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในห้องเรียน
ห้องเรียน
หนังเรื่อง เด็กชายในชุดนอนลายทาง
- หนังสือช่วงปิดเทอม
- ครูเปิดหนังเรื่อง เด็กชายในชุดนอนลายทาง ให้นักเรียนดู
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับหนังที่ได้ดูในรูปแบบ Place Mat
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดงออกถึงความรู้สึกร่วมในรูปแบบภาพวาดและข้อความในเรื่อง เด็กชายในชุดนอนลายทาง
- นักเรียนร่วมกันนำเสนอหนังสือที่ได้อ่านมาช่วงปิดเทอม
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่เพื่อนนำเสนอในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังที่ได้ดู
- สร้างชิ้นงานผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- นำเสนอหนังสือที่ได้อ่านมาช่วงปิดเทอม
- พูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่เพื่อนนำเสนอ
- การบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
-สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
ความรู้
มีฉันทะ/ แรงบันดาลใจในการเรียนรู้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
Week
Input
Process
Output
Outcome
2
18-22 ม.ค.
2559
โจทย์
-วางแผนออกแบบการเรียนรู้
Key Questions
- นักเรียนต้องการเรียนรู้เรื่องอะไร
- นักเรียนคิดว่าชื่อหน่วย ที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
Round Table
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพสะเทือนใจ
Round Robin
พูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับเหตุการณ์
Card & Chart
เรื่องที่ต้องการเรียนรู้
Think  Pair Share
สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
Blackboard  Share
การตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
Brainstorms
ระดมความคิดเห็นเพื่อออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
Mind  Mapping
สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในห้องเรียน
ห้องเรียน
- ภาพสะเทือนใจ (ภาพเด็กหญิงชาวเวียดนามในสงคราม)
- กระดาษชาร์ตแผ่นใหญ่
- ครูให้นักเรียนดูภาพสะเทือนใจจำนวน 10 ภาพ (ตัวอย่าง: ภาพเด็กหญิงชาวเวียดนามในสงคราม)
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับภาพที่ได้ดูในรูปแบบ Round Table
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับเรื่องราวที่มีความคล้ายคลึงกับเหตุการณ์ในภาพในรูปแบบ Round Robin
- ครูแจกกระดาษแผ่นเล็กๆให้นักเรียนแต่ละคน ให้เขียนเรื่องที่อยากเรียนรู้ ในรูปแบบ Card & Chart
- ครูและนักเรียนจัดหมวดหมู่เรื่องที่ต้องการศึกษาร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น และร่วมกันตั้งชื่อหัวข้อหน่วย ในรูปแบบ Blackboard Share
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้และสิ่งที่อยากเรียนรู้และรวมรวบความคิดร่วมกัน ในรูปแบบ Think Pair Share
- ครูและนักเรียนร่วมกันนำสิ่งที่อยากเรียนรู้มาออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ในกระดาษชาร์ตแผ่นใหญ่
- นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนรู้ในรูปแบบ Mind Mapping
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพสะเทือนใจ
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเลือกหัวข้อหน่วยการเรียนรู้และออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
- การบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- หัวข้อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับหัวข้อหน่วย
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนการเรียนรู้
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
ความรู้ 
เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
สามารถคิดวิเคราะห์ เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
Week
Input
Process
Output
Outcome
3
25-29 ม.ค. 2559
โจทย์
- ประวัติศาสตร์
- การแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
Key Questions
- อะไรคือสาเหตุของแต่ละเหตุการณ์สังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- ใครคือบุคคลผู้มีอิทธิพลในแต่ละเหตุการณ์การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- การศึกษาเพื่อสันติภาพมีความสำคัญอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอและร่วมอภิปรายเกี่ยวกับสาเหตุ และบุคคลสำคัญที่อยู่ในแต่ละเหตุการณ์การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
Round Robin
- พูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับหนังที่ได้ดู และกิจกรรมที่ทำ
- นำเสนอเรื่องที่ศึกษา
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในห้องเรียน
ห้องเรียน
- หนังที่แต่ละกลุ่มได้รับไปดู
- กระดาษบรู๊ฟ
- อินเตอร์เน็ต
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด ปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้คนและสังคมหนึ่งๆอยู่รอด ไม่มีอยู่ไม่ได้?”
- นักเรียนแต่ละคนเขียนคำตอบลงในกระดาษ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด จากปัจจัยที่นักเรียนเขียนปัจจัยใดเป็นความจำเป็น หรือความต้องการ และอะไรคือความแตกต่างของสองสิ่งนี้
- นักเรียนแต่ละคนวิเคราะห์และเขียนคำตอบลงในกระดาษของตัวเอง
- นักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน และหาฉันทามติร่วมกัน ในรูปแบบคู่ กลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่ทั้งหมด
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเรื่องความแตกต่างระหว่างความขัดแย้งและความรุนแรงในรูปแบบ Round Robin
- ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน และจับฉลากเลือกค้นคว้าเกี่ยวกับเหตุการณ์สังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในแต่ละประเทศและในแต่ละทวีปที่มีเหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้น ดังนี้
-         อเมริกา (ชนเผ่าอินเดียนแดง)
-         กัมพูชา (เขมรแดง)
-         ระวันดา (ชนเผ่าฮูตู-ทุตซี)
-         จีน (เมืองนานกิง)
-         เยอรมัน (ฮิตเลอร์-ยิว)
-         ออสเตรเลีย (ชนเผ่าอะบอริจิน)
- ครูให้โจทย์นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของสงครามหรือเหตุการณ์สังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “ทำไมจึงมีเหตุการณ์ความรุนแรง การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์?
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด นักเรียนคิดว่า มีประเทศใดบ้างที่ไม่เคยมีเหตุการณ์ความรุนแรง การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- ครูแจกหนัง (แต่ละกลุ่มไม่เหมือนกัน)  ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ที่นักเรียนศึกษาทุกกลุ่มไปดูร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้น ศึกษาข้อมูล และบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม
- นักเรียนแต่ละคนนำเสนอเกี่ยวกับประเทศที่ไม่เคยมีเหตุการณ์ความรุนแรง การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เกิดขึ้น
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกัน ในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเรื่องที่ศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของสงครามหรือเหตุการณ์สังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในแต่ละประเทศ
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากการนำเสนอของเพื่อนแต่ละกลุ่ม ในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการฟังเรื่องที่ศึกษาในรูปแบบ Mind Mapping
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดงออกถึงความรู้สึกร่วมในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจ (เขียนคำอุทิศ, แต่งบทกวี บทประพันธ์ เพลง, เขียนจดหมาย, ใช้โวหารภาพพจน์)
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- วิเคราะห์และพูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
- ทำกิจกรรมการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
- ดูหนัง
- สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และนำเสนอประเทศใดบ้างที่ไม่เคยมีเหตุการณ์ความรุนแรง การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เกิดขึ้น
- สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และนำเสนอเกี่ยวกับประวัติศาสตร์สาเหตุและบุคคลผู้มีอิทธิพลในแต่ละเหตุการณ์สังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- เขียน และสร้างชิ้นงานผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
-  กระดาษที่ใช้นำเสนอ
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้

ความรู้ 
- เข้าใจประวัติศาสตร์ สาเหตุ และบุคคลสำคัญที่อยู่ในแต่ละเหตุการณ์การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- เข้าใจเรื่องการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
- สามารถวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความขัดแย้งและความรุนแรง และเชื่อมโยงสู่การศึกษาเพื่อสันติภาพ
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
สามารถคิดวิเคราะห์ เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
Week
Input
Process
Output
Outcome
4
1-5 ก.พ. 2559
โจทย์
- เหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
- การแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ในอดีตส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบันอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอและร่วมอภิปรายเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
Round Robin
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ และกิจกรรมที่ทำ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- เก้าอี้
- ใบคำสั่ง
- วัสดุจากธรรมชาติ เช่น ใบไม้ กิ่งไม้ ดอกไม้ ก้อนหิน
- อินเตอร์เน็ต
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 3 กลุ่ม แต่ละกลุ่มจะได้รับเป้าหมายที่ต้องทำให้สำเร็จจากครูที่ต่างกัน (กลุ่ม1- ให้รวมเก้าอี้ไว้ที่กลางห้อง, กลุ่ม2- ให้รวมเก้าอี้ไว้ที่ริมหน้าต่าง, กลุ่ม3- ให้รวมเก้าอี้ไว้ที่ริมประตู) มีกติกาว่า ห้ามแต่ละกลุ่มบอกเป้าหมายกับกลุ่มอื่นๆ
- เมื่อกิจกรรมดำเนินไปสักพัก ครูอาจขอตัวแทนของแต่ละกลุ่มมาพูดคุยตกลงกัน
- นักเรียนร่วมทำกิจกรรมร่วมกัน
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเรื่องการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง ในรูปแบบ Round Robin
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับปัญหาและวิธีแก้ปัญหาความขัดแย้งในบ้านและชุมชนของนักเรียน ในรูปแบบ Round Robin
- ครูให้โจทย์นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้น ศึกษาข้อมูล และบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเรื่องที่ศึกษาคือ ผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรม ในปัจจุบัน ในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจ (การ์ตูนช่อง, บทความ, Mind Mapping, Flow Chart, ชาร์ตความรู้ ฯลฯ)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมอภิปรายผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรม
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดงออกถึงความรู้สึกร่วมในรูปแบบ
การจัดดอกไม้
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ทำกิจกรรมการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
- สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และนำเสนอเกี่ยวกับเหตุการณ์สังหารหมู่ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยน
แปลงด้านสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- สร้างชิ้นงานผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้

ความรู้
- เข้าใจเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
- เข้าใจเรื่องการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
สามารถคิดวิเคราะห์ เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
Week
Input
Process
Output
Outcome
5
8-12 ก.พ. 2559
โจทย์
- เหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบัน
- การแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
Key  Questions
- นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ในอดีตส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบันอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอและร่วมอภิปรายเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบัน
Round Robin
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- กระดาษ
- เทปกาว
- อินเตอร์เน็ต
- ครูให้นักเรียนวาดดอกไม้ลงบนกระดาษ
- แต่ละกลีบให้นักเรียนเขียนคำสั้นๆ ที่อธิบายตัวตนของนักเรียน
- ครูรวบรวบกระดาษและเขียนคำอธิบายตัวตนบนกระดาน
- ครูใช้เชือกแบ่งครึ่งห้องแบ่งนักเรียนเป็น 2 ฝั่ง ครูอ่านคำอธิบายตัวตนบนกระดานทีละคำ นักเรียนที่มีตัวตนตรงกับที่ครูอ่านเดินไปที่ฝั่งที่กำหนด (ตัวอย่าง เช่น เพศชาย-หญิง, เป็นคนอำเภอลำปลายมาศ-นางรอง)
- นักเรียนร่วมทำกิจกรรมร่วมกัน
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเรื่องการเคารพความแตกต่างของ
อัตลักษณ์ของแต่ละบุคคล
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมอัตลักษณ์ ในรูปแบบ Round Robin
- ครูให้โจทย์นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองในปัจจุบัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้น ศึกษาข้อมูล และบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเรื่องที่ศึกษาคือ ผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองในปัจจุบัน ในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจ (การ์ตูนช่อง, บทความ, Mind Mapping, Flow Chart, ชาร์ตความรู้ ฯลฯ)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมอภิปรายผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านการเมือง
การปกครองของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดงออกถึงความรู้สึกร่วม ในรูปแบบการเขียนจดหมายถึงผู้มีอำนาจสั่งการในเหตุการณ์
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ทำกิจกรรมการแปรเปลี่ยน
ความขัดแย้ง
- สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และนำเสนอเกี่ยวกับเหตุการณ์สังหารหมู่ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยน
แปลงด้านการเมืองการปกครองของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- สร้างชิ้นงานผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้

ความรู้
- เข้าใจเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบัน
- เข้าใจเรื่องการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
สามารถคิดวิเคราะห์ เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล

ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
Week
Input
Process
Output
Outcome
6
15-19 ก.พ. 2559
โจทย์
- เหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน
- การแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
Key  Questions
- นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ในอดีตส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านระบบเศรษฐกิจในปัจจุบันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอและร่วมอภิปรายเกี่ยวกับผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจในปัจจุบัน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังที่ดู
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- เรื่องเล่า
- หนังเรื่อง Freedom Writer
- อินเตอร์เน็ต
- ครูเปิดหนังเรื่อง Freedom Writer
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน ในรูปแบบ Show and Share
- ครูให้โจทย์นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้น ศึกษาข้อมูล และบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเรื่องที่ศึกษาคือ ผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจในปัจจุบัน ในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจ (การ์ตูนช่อง, บทความ, Mind Mapping, Flow Chart, ชาร์ตความรู้ ฯลฯ)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมอภิปรายผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดงออกถึงความรู้สึกร่วมในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจ (เขียนคำอุทิศ, แต่งบทกวี บทประพันธ์ เพลง, เขียนจดหมาย, ใช้โวหารภาพพจน์) เพื่อบรรยายความลำบากในการกินอยู่
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ทำกิจกรรมการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
- สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และนำเสนอเกี่ยวกับเหตุการณ์สังหารหมู่ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยน
แปลงด้านระบบเศรษฐกิจของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้

ความรู้
- เข้าใจเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน
- เข้าใจเรื่องการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
สามารถคิดวิเคราะห์ เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
Week
Input
Process
Output
Outcome
7
22-26 ก.พ. 2559
โจทย์
- เหตุการณ์ความรุนแรงในประเทศไทย
- การแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
Key  Questions
- ประเทศไทยเคยมีเหตุการณ์ความรุนแรงหรือไม่?
เครื่องมือคิด
Round Table
พูดคุยแลกเปลี่ยนจากกิจกรรมที่ทำ
Place Mat
วิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากกิจกรรมที่ทำ
Round Robin
พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกันจากกิจกรรมที่ทำ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- คลิปเหตุการณ์ความรุนแรงในไทย (14 ต.ค. 2516, 6 ต.ค. 2519, พฤษภาทมิฬ)
คลิปรายการพื้นที่ชีวิต ตอนรอยเลือดที่รวันดา
- เชือกฟาง
- กระดาษ
- อินเตอร์เน็ต
- ครูเปิดคลิปเหตุการณ์ความรุนแรงในไทย (14 ต.ค. 2516, 6 ต.ค. 2519, พฤษภาทมิฬ)
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับผลของเหตุการณ์ความขัดแย้งในไทยส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบันในรูปแบบ Place Mat
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดงออกถึงความรู้สึกร่วมในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจ (เขียนคำอุทิศ, แต่งบทกวี บทประพันธ์ เพลง, เขียนจดหมาย, ใช้โวหารภาพพจน์)ในรูปแบบการแต่งเพลง
- ครูให้นักเรียนดูคลิปรายการพื้นที่ชีวิต ตอนรอยเลือดทีรวันดา
- ครูและนักเรียนทบทวนเหตุการณ์ที่รวันดาร่วมกัน
 - นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับผู้ที่มีส่วนทำให้เกิดเหตุการณ์ในรวันดา ในรูปแบบ Blackboard Share ในมิติขององค์กรทางสังคม ซึ่งประกอบด้วย สถาบันครอบครัว, การเมืองการปกครอง, เศรษฐกิจ, การศึกษา, ศาสนา, สื่อสารมวลชน ฯลฯ
- ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มตามองค์กรทางสังคม กลุ่มละ 2-3 คน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับองค์กรทางสังคมของนักเรียนมีส่วนทำให้เกิดความรุนแรงเพิ่มขึ้นที่รวันดาในรูปแบบ Place Mat
- ครูขออาสามาสมัคร 2 คนมาอยู่กลางวงกลม เป็นสัญลักษณ์ของผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง นักเรียนแต่ละกลุ่มยืนเป็นวงกลมล้อมรอบ ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอคำตอบเมื่อพูดจบให้ส่งด้ายไหมพรมโยงไปหาอีกกลุ่ม เป็นการสร้างปม
- นักเรียนที่เป็นอาสาสมัครนำเสนอความรู้สึกกับเพื่อนๆ ที่อยู่นอกวงกลม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับ ถ้านักเรียนเป็นผู้มีอำนาจในองค์กรทางสังคม จะวิธีอย่างไรในการแก้ปัญหาความรุนแรงที่เกิดขึ้น
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอคำตอบการเชื่อมโยงกับกลุ่มอื่น เมื่อพูดจบให้ส่งด้ายไหมพรมโยงคืนกลับมาหากลุ่มที่ส่งให้ในรอบแรก เป็นการแก้ปม
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกัน ในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องเล่าจากครู และคลิปที่ดู
- เขียนผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- ทำกิจกรรมการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
ความรู้
- เข้าใจเหตุการณ์ความรุนแรงในประเทศไทย
- เข้าใจเรื่องการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
สามารถคิดวิเคราะห์ เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
Week
Input
Process
Output
Outcome
8
29-4 มี.ค. 2559
โจทย์
- มุมมองความขัดแย้งระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน
Key  Questions
- คนไทยส่วนใหญ่มีมุมมองต่อประเทศเพื่อนบ้านอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอและร่วมอภิปรายเกี่ยวกับมุมมองของคนไทยต่อประเทศเพื่อนบ้าน
- พูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันจากกิจกรรมที่ทำ และเรื่องที่อ่าน
Round Robin
พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกันจากกิจกรรมที่ทำ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- คลิปหนังเรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวร และก้านกล้วย
- กระดาษ
- บทความมุมมองใหม่ต่อพม่าในช่วงการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2
- อินเตอร์เน็ต
- ครูให้นักเรียนดูคลิปหนังเรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวร และก้านกล้วย
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับหนังที่ได้ดูในรูปแบบ Round Robin
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับความรู้สึกต่อประเทศเพื่อนบ้าน ในรูปแบบ Round Robin
- ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม และเลือกค้นคว้าเกี่ยวกับมุมมองของคนไทยต่อประเทศเพื่อนบ้าน ดังนี้
-         ลาว (เจ้าอนุวงศ์)
-         พม่า (เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2)
-         กัมพูชา (ประสาทเขาพระวิหาร)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้น ศึกษาข้อมูล และบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเรื่องที่ศึกษา คือมุมมองของไทยต่อประเทศเพื่อนบ้าน
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกัน ในรูปแบบ Round Robin
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับในการที่จะเปิดประชาคมอาเซียนเร็วๆ นี้ มุมมองต่อประเทศเพื่อนบ้านของไทย จะส่งผลดี ผลเสียต่อประชาคมและกับประเทศไทยหรือไม่ อย่างไร ในรูปแบบ Round Robin
- ครูให้นักเรียนอ่านบทความมุมมองใหม่ต่อพม่าในช่วงการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับบทความที่อ่าน ในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหนัง และคลิปที่ดู และเรื่องที่อ่าน
- เขียนแสดงความรู้สึกผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- สืบค้นข้อมูลและนำเสนอเกี่ยวกับมุมมองของคนไทยต่อประเทศเพื่อนบ้าน
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้


ความรู้
เข้าใจมุมมองความขัดแย้งระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
สามารถคิดวิเคราะห์ เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
Week
Input
Process
Output
Outcome
9
7-11 มี.ค. 2559
โจทย์
- มองอนาคต
- เชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับตนเอง
- ถ่ายทอดความเข้าใจเรื่องที่ศึกษาและเรียนรู้มาตลอด 1 Quarter
Key  Questions
- จะเกิดอะไรขึ้นกับตัวเองและโลก ถ้าโลกนี้มีประชากรถึง 9,000 ล้านคน
- นักเรียนจะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter นี้ มาเชื่อมโยงกับตนเองและถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorm
ระดมความคิดเพื่อออกแบบรูปแบบในการนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
Round Robin
พูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกันจากกิจกรรมที่ทำ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- ข้อมูลจาก Website
- เรื่องเล่าเกี่ยวกับปี ค.ศ. 2040
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “จากที่ได้เรียนมาตลอดทั้ง Quarter นักเรียนมีความรู้สึก เชื่อมโยงกับตนเองอย่างไร?
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดง
ออกถึงความรู้สึกร่วมในรูปแบบการเขียนบทความ
- นักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกัน ออกแบบรูปแบบในการนำเสนอ ในรูปแบบ Brainstorm
- ครูให้โจทย์นักเรียนทั้งห้องร่วมกันออกแบบการนำเสนอเรื่องที่ศึกษาและเรียนรู้ตลอด 1 Quarter
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคิดว่า ประเทศไทย และโลกมีประชากรเท่าไร?
- นักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกัน ในรูปแบบ Round Robin
- ครูให้นักเรียนดูข้อมูลโลกในปัจจุบันแบบ Real time จากเว็บไซต์ http://www.worldometers.info/ ได้แก่ ข้อมูลจำนวนประชากร จำนวนคนเกิด คนตาย ปริมาณการใช้น้ำ น้ำมัน การตัดใช้ทำลายป่า เป็นต้น
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้รับ ในรูปแบบ Round Robin
- ครูเล่าเรื่องในปี ค.ศ. 2040 โลกจะมีประชากรถึง 9,000 ล้านคน
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับปี ค.ศ. 2040 ในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนสรุปความคิดเห็นของตัวเอง ในรูปแบบ Infographic
- นักเรียนร่วมสรุปข้อมูลอีกครั้งเพื่อทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้
- นักเรียนร่วมออกแบบรูปแบบการนำเสนอส่งที่ได้เรียนรู้
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้ดู เรื่องเล่าที่ได้ฟัง
- เตรียมความพร้อมถ่ายทอดความเข้าใจ
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุดชิ้นงาน
- Inforgraphic เกี่ยวกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 2040
- บทความเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับตนเอง
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้


ความรู้
เข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ของการกระทำที่ส่งผลต่อเหตุการณ์ที่เกิดจากเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์/สังหารหมู่ที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
สามารถคิดวิเคราะห์ เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
- วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
Week
Input
Process
Output
Outcome
10
14-18 มี.ค. 2559
โจทย์
สิ่งได้เรียนรู้ตลอด 1 Quarter 
ประเมินตนเอง
- ถ่ายทอดความเข้าใจเรื่องที่ศึกษาและเรียนรู้มาตลอด 1 Quarter
Key  Questions
- นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม
- นักเรียนจะนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter นี้ มาถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอสิ่งที่เรียนรู้หลังเรียน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้  จากการเรียนรู้หน่วย ทุ่งสังหาร?
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและแต่ละคนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนใน Quarter นี้  
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด   “ใน Quarter นี้ นักเรียนคิดว่าสิ่งไหนที่ตนเองทำได้ดีแล้วมีสิ่งไหนที่ตนเองต้องพัฒนาเพิ่มเติม?
- นักเรียนเขียนประเมินตนเองในสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
- นักเรียนช่วยกันเตรียมความพร้อมถ่ายทอดความเข้าใจ
- นักเรียนร่วมกันแสดงผลงานถ่ายทอดความเข้าใจ
- ครูและนักเรียนร่วมสรุปข้อมูลอีกครั้งเพื่อทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ตลอดภาคเรียนที่ 1 
-นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ครูและนักเรียนร่วมกันตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
นักเรียนแต่ละคนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนตลอด 1 Quarter ในรูปแบบ Mind Mapping
ภาระงาน
- ทำ Mind Mapping สรุปการเรียนรู้ทั้ง Quarter
- เขียนประเมินตนเองในสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนา
- แสดงผลงานถ่ายทอดความเข้าใจ
ชิ้นงาน
- งานตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mappingสรุปการเรียนรู้ทั้ง Quarter
- งานเขียนประเมินตนเองในสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนา
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ของการกระทำที่ส่งผลต่อเหตุการณ์ที่เกิดจากการทำสงคราม การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
สามารถคิดวิเคราะห์ เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน


ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย :  ทุ่งสังหาร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1    Quarter  4 ภาคเรียนที่  2 / 2558


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
หน้าที่พลเมือง
สร้างฉันทะ สร้างแรงบันดาลใจ
- เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามจากเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว 8.1.1/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้ (ว 8.1.1/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1.1/7)
- สามารถจัดแสดงผลงานการออกแบบปฏิทิน อธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและและกระบวนการทำงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ว 8.1.1/9)
มาตรฐาน ส 1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้ (ส 1.1.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (ส 1.1.3/7)
มาตรฐาน ส 1.2
- มีมรรยาทของความเป็น  ศาสนิกชนที่ดี 
(ส 1.2.2/2)
มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(ส 2.2.2/2)

มาตรฐาน ส 4.1
- วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
(4.1  .2/2)
- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่ตนเองสนใจ
 (4.1  .3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
-  เปรียบเทียบความ   เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
(4.2  .2/1) 
มาตรฐาน ง 1.1
- ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ (ง 1.1 ม.1/2)
- เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน
(1.1.2/1)
- เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (1.1 .2/2)
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (1.1 .2/3)
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต
 (1.1 .4-6/1)
- สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
 (1.1 .4-6/2)
- มีทักษะในการจัดการทำงาน (1.1 .4-6/3)
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
 (1.1 .4-6/4)
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสื่อเพื่อการดำรงชีวิต 
(1.1 .4-6/5)
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน (1.1 .4-6/6)

มาตรฐาน  พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(1.1.2/2)
มาตรฐาน  พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2.1.3/1)
- วิเคราะห์สาเหตุและผลของความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นระหว่างผู้เรียน หรือเยาวชนในชุมชน และเสนอแนวทางแก้ไข
(พ 2.1 ม.4-6/4)

มาตรฐาน  พ 3.1
- ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน  
(3.1.3/2)

มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
(1.1.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
(ศ 1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ 1.1 ม.3/7)
สามารถวิเคราะห์ และวิจารณ์ เนื้อหาที่ได้ศึกษา เช่น จากการดู VDO  การรับฟังจากที่ครูผู้สอน ร่วมถึง ชิ้นงานของตนเองและผู้อื่นได้( 1.1 ม.3/8)

มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(2.1.2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(2.1.2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(2.1.2/3)

- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(2.1.2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(2.1.3/5)
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน

(2.2.2/2)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
- เหตุการณ์/ บุคคลสำคัญ


มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้ 
(ว 8.1.1/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้ (ว 8.1.1/4)
- วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุปทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสำรวจตรวจสอบ
(8.1 ม.1/5)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1.1/7)
- บันทึกและอธิบายจากการค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้ 
(ว 8.1.1/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน  หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการทำงาน ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
 (ว 8.1.1/9)
มาตรฐาน ส 1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้ (ส 1.1.1/6)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (ส 1.1.3/7)
มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ที่มีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ในสังคมสมัยปัจจุบันได้
(ส 2.2.2/2)

มาตรฐาน ส 4.1
- วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับเงินได้
(4.1.2.2)
- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับเงินและที่ตนเองสนใจ
(4.1 .3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- เปรียบเทียบความ   เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
(4.2  .2/1) 
มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน (1.1.2/1)
- เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (1.1 .2/2)
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (1.1 .2/3)
- สามารถทำงานและอธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ             (1.1 .3/1)
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต     
 (1.1 .4-6/1)
- สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
 (1.1 .4-6/2)
- มีทักษะในการจัดการทำงาน (1.1 .4-6/3)
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน(1.1 .4-6/4)
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศเพื่อการดำรงชีวิต                    (1.1 .4-6/5)
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน
(1.1 .4-6/6)
มาตรฐาน ง 2.1
- เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อมและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
(2.1 .2/4)

มาตรฐาน ง 3.1
- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบวีดีโอได้  
(3.1 .3/3)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงานได้จากจินตนาการอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ (3.1 .3/4)
- ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต
(3.1 .4-6/9)
- อธิบายข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ                           (3.1 .4-6/13)
มาตรฐาน  พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้ (1.1.2/2)
มาตรฐาน  พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2.1 ม.3/1)
- เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกัน ลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัว (2.1.4-6/3)

- วิเคราะห์สาเหตุและผลของความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นระหว่างผู้เรียน หรือเยาวชนในชุมชน และเสนอแนวทางแก้ไข
(2.1 ม.4-6/4)

มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพโดยใช้เทคนิคที่หลากหลายในการสื่อเรื่องราวต่างๆ (1.1.2/3)
- สามารถนำผลการวิจารณ์ไปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาของตนเองได้
(1.1.2/5)
มาตรฐาน ศ 1.2
- สามารถศึกษาและอธิบายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมได้
(1.2.3/1)
มาตรฐาน ศ 2.1
- บรรยายอารมณ์ของเพลงและความ
รู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง (2.1 ม.2.5)
มาตรฐาน ศ 3.2
- สามารถเปรียบเทียบลักษณะของการแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่างๆได้
(3.2.2/1)
- สามารถอธิบายความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละครในชีวิต ประจำวันได้ 
(3.2.2/2)


มาตรฐาน ส 2.1
- แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น
(ส 2.1 ม.1/4)
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยว- ข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(2.1 .2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(2.1.2/2)

- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(2.1.2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(2.1.2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(2.1.3/5)
มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(2.2.2/2)



สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
หน้าที่พลเมือง
เหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อ
- การเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรม ภาษา และความเชื่อในปัจจุบัน
- การเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบัน
- การเปลี่ยนแปลงด้านระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน
- การเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษาในปัจจุบัน

มาตรฐาน ว 2.2
- อภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
(2.2 ม.3/3)
- อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา
(2.2 ม.3/5)
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้ 
(ว 8.1.1/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้ (ว 8.1.1/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1.1/7)
- บันทึกและอธิบายจากการค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้ 
(ว 8.1.1/8)
- สามารถจัดแสดงผลงาน หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1.1/9)
มาตรฐาน ส 1.1
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (ส 1.1.3/7)
มาตรฐาน ส 2.1
- วิเคราะห์บทบาทความสำคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม
(ส 2.1 ม.2/3)
- วิเคราะห์ปัจจัยที่ให้เกิดความขัดแย้งในประเทศและเสนอแนวคิดในการลดความขัดแย้ง (2.1 ม.3/4)
- เสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก (2.1 ม.3/5)

มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2.2/2)
- อธิบายระบบการปกครองแบบต่างๆ ที่ใช้ในยุคปัจจุบัน
(2.2 ม.3/1)
- วิเคราะห์เปรียบเทียบระบบการปกครองของไทยกับประเทศอื่นๆ ที่มีการปกครองระบบประชาธิปไตย
(2.2 ม.3/2)
มาตรฐาน 3.2
- อภิปรายระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ
(3.2 ม.2/1)
- แสดงความคิดเห็นต่อนโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐที่มีผลต่อบุคคล กลุ่มคน และประเทศชาติ
(3.2 ม.3/3)
มาตรฐาน ส 4.1
- ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติ-ศาสตร์ในลักษณะต่างๆ
(4.1 ม.2/1)
- วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจได้
(4.1.2/2)
- เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ
(4.1 ม.2/3)
- วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผล ตามวิธีการทางประวัติศาสตร์ 
( 4.1 ม.3/1)
- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจและที่ตนเองสนใจ (4.1 .3/2)
- ตระหนักถึงความ
สำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยน
แปลงของมนุษยชาติ
(4.1 ม.4-6/1)
มาตรฐาน ส 4.2
- อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคต่างๆ ในโลก โดยสังเขป
(4.2 ม.3/1)
- วิเคราะห์ผลของการเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่ความร่วมมือและความขัดแย้งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตลอดจนความพยายามในการจัดการปัญหาความขัดแย้ง
(4.2 ม.3/2)
- วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
(4.2 ม.4-6/2)
มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน
(1.1.2/1)
- เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (1.1 .2/2)
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (1.1 .2/3)

- สามารถทำงานและอธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ             (1.1 .3/1)
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต    
(1.1 .4-6/1)
- สามารถสร้างผลงาน
อย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
(1.1 .4-6/2)
- มีทักษะในการจัดการทำงาน (1.1 .4-6/3)
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
 (1.1 .4-6/4 )
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศเพื่อการดำรงชีวิต                    (1.1 .4-6/5)
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน
(1.1 .4-6/6)
มาตรฐาน  ง 2.1
- เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อมและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม                (2.1 .2/4)
มาตรฐาน  ง 3.1
- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบวีดีโอได้ (3.1 .3/3)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงานได้จากจินตนาการอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ (3.1 .3/4)
- ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต
(3.1 .4-6/9)
- อธิบายข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(3.1 .4-6/13)
มาตรฐาน  พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผล
กระทบต่อการเจริญ
เติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(1.1.2/2)
มาตรฐาน  พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2.1 ม.3/1)
- เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกัน ลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัว (2.1.4-6/3)

- วิเคราะห์สาเหตุและผลของความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นระหว่างผู้เรียน หรือเยาวชนในชุมชน และเสนอแนวทางแก้ไข
(2.1 ม.4-6/4)

มาตรฐาน ศ 1.1
- สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (1.1.2/3)

มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(2.1 .2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(2.1.2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(2.1 .2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(2.1 .2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(2.1.3/5)
มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคม
ไทยสมัยปัจจุบัน
(2.2.2/2)