หน่วยการเรียนรู้: "ทุ่งสังหาร "
คำถามหลัก (Big question): ทำไมมนุษย์ต้องฆ่ากันเอง?
ภูมิหลังของปัญหา:
มนุษย์ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒนาการขั้นสูง มีสมองขนาดใหญ่และซับซ้อนกว่าสัตว์ชนิดอื่น ด้วยเหตุนี้ มนุษย์จึงมักยกตัวเองให้สูงส่งกว่าสัตว์ชนิดใดๆ บนโลก มนุษย์รู้จักการสร้างที่อยู่อาศัย เมือง รวมตัวใหญ่ขึ้นเป็นสังคมและประเทศ สร้างระบบความคิด ความเชื่อ รวมถึงภาษา ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีของกลุ่ม แต่ธรรมชาติของมนุษย์ต้องการความมั่นคง ความรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เมื่อมนุษย์อยู่รวมกัน ติดต่อสัมพันธ์กัน ปัญหามักจะเกิดขึ้นตามมา ทั้งจากความคิดต่าง ศาสนาความเชื่อ เชื้อชาติ การเมืองการปกครอง แต่แทนที่จะแก้ปัญหาข้อขัดแย้งอย่างสันติ บางครั้งมนุษย์กลับเลือกใช้วิธีที่รุนแรง ทำลายล้างซึ่งกันและกันเพื่อยุติปัญหานั้น และเหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นซ้ำๆ ทั้งสาเหตุและผล เปลี่ยนเพียงแค่ตัวบุคคลเท่านั้น
ดังนั้น จึงจำเป็นที่นักเรียนจะต้องเรียนรู้สิ่งเหล่านี้ ที่ไม่ใช่เหตุผลที่เราต้องเรียนประวัติศาสตร์เพื่อแค่รู้ จำชื่อบุคคล หรือปีที่เกิดได้ แต่เพื่อป้องกันไม่ให้ประวัติศาสตร์เกิดขึ้นซ้ำรอยอีก รวมทั้งสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมปัจจุบันได้เป็นอย่างดี
เป้าหมายความเข้าใจ (Understanding goals): เข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ของการกระทำที่ส่งผลต่อเหตุการณ์ที่เกิดจากการทำสงคราม การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีทักษะการคิดและการจัดการข้อมูลต่างๆ รวมทั้งเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสันติและภราดรภาพ
เป้าหมายความเข้าใจ (Understanding goals): เข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ของการกระทำที่ส่งผลต่อเหตุการณ์ที่เกิดจากการทำสงคราม การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีทักษะการคิดและการจัดการข้อมูลต่างๆ รวมทั้งเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสันติและภราดรภาพ
ปฏิทินการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย : “การจัดการชุดความรู้” ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
11-15 ม.ค.
2559
|
โจทย์
- สร้างฉันทะ/ แรงบันดาลใจ
Key Questions
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากเรื่องที่ได้ดู
เครื่องมือคิด
Show and Share
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการหนังที่ได้ดู
Round Table
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพสะเทือนใจ
Round Robin
การพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันจากเรื่องที่ฟัง ที่อ่าน
Card & Chart
เรื่องที่ต้องการเรียนรู้
Think Pair Share
สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
Blackboard Share
การตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
Brainstorms
ระดมความคิดเห็นเพื่อออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
Mind Mapping
สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- หนังเรื่อง
เด็กชายในชุดนอนลายทาง
- หนังสือช่วงปิดเทอม
|
- ครูเปิดหนังเรื่อง เด็กชายในชุดนอนลายทาง ให้นักเรียนดู
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับหนังที่ได้ดูในรูปแบบ
Place Mat
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดงออกถึงความรู้สึกร่วมในรูปแบบภาพวาดและข้อความในเรื่อง
เด็กชายในชุดนอนลายทาง
- นักเรียนร่วมกันนำเสนอหนังสือที่ได้อ่านมาช่วงปิดเทอม
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่เพื่อนนำเสนอในรูปแบบ
Round Robin
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังที่ได้ดู
- สร้างชิ้นงานผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- นำเสนอหนังสือที่ได้อ่านมาช่วงปิดเทอม
- พูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่เพื่อนนำเสนอ
- การบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
-สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
มีฉันทะ/ แรงบันดาลใจในการเรียนรู้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
2
18-22 ม.ค.
2559
|
โจทย์
-วางแผนออกแบบการเรียนรู้
Key Questions
- นักเรียนต้องการเรียนรู้เรื่องอะไร
- นักเรียนคิดว่าชื่อหน่วย ที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
Round Table
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพสะเทือนใจ
Round Robin
พูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับเหตุการณ์
Card & Chart
เรื่องที่ต้องการเรียนรู้
Think Pair Share
สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
Blackboard Share
การตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
Brainstorms
ระดมความคิดเห็นเพื่อออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
Mind Mapping
สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- ภาพสะเทือนใจ
(ภาพเด็กหญิงชาวเวียดนามในสงคราม)
- กระดาษชาร์ตแผ่นใหญ่
|
- ครูให้นักเรียนดูภาพสะเทือนใจจำนวน 10 ภาพ (ตัวอย่าง: ภาพเด็กหญิงชาวเวียดนามในสงคราม)
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับภาพที่ได้ดูในรูปแบบ
Round Table
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับเรื่องราวที่มีความคล้ายคลึงกับเหตุการณ์ในภาพในรูปแบบ
Round Robin
- ครูแจกกระดาษแผ่นเล็กๆให้นักเรียนแต่ละคน
ให้เขียนเรื่องที่อยากเรียนรู้ ในรูปแบบ Card & Chart
-
ครูและนักเรียนจัดหมวดหมู่เรื่องที่ต้องการศึกษาร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น
และร่วมกันตั้งชื่อหัวข้อหน่วย ในรูปแบบ Blackboard Share
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้และสิ่งที่อยากเรียนรู้และรวมรวบความคิดร่วมกัน
ในรูปแบบ Think Pair Share
- ครูและนักเรียนร่วมกันนำสิ่งที่อยากเรียนรู้มาออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ในกระดาษชาร์ตแผ่นใหญ่
- นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนรู้ในรูปแบบ
Mind Mapping
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพสะเทือนใจ
-
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเลือกหัวข้อหน่วยการเรียนรู้และออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
- การบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- หัวข้อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับหัวข้อหน่วย
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์ เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
3
25-29 ม.ค. 2559
|
โจทย์
- ประวัติศาสตร์
- การแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
Key Questions
-
อะไรคือสาเหตุของแต่ละเหตุการณ์สังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- ใครคือบุคคลผู้มีอิทธิพลในแต่ละเหตุการณ์การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- การศึกษาเพื่อสันติภาพมีความสำคัญอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอและร่วมอภิปรายเกี่ยวกับสาเหตุ
และบุคคลสำคัญที่อยู่ในแต่ละเหตุการณ์การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
Round Robin
- พูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับหนังที่ได้ดู
และกิจกรรมที่ทำ
- นำเสนอเรื่องที่ศึกษา
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- หนังที่แต่ละกลุ่มได้รับไปดู
- กระดาษบรู๊ฟ
- อินเตอร์เน็ต
|
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “ปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้คนและสังคมหนึ่งๆอยู่รอด
ไม่มีอยู่ไม่ได้?”
- นักเรียนแต่ละคนเขียนคำตอบลงในกระดาษ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “จากปัจจัยที่นักเรียนเขียนปัจจัยใดเป็นความจำเป็น
หรือความต้องการ และอะไรคือความแตกต่างของสองสิ่งนี้”
- นักเรียนแต่ละคนวิเคราะห์และเขียนคำตอบลงในกระดาษของตัวเอง
- นักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
และหาฉันทามติร่วมกัน ในรูปแบบคู่ กลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่ทั้งหมด
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเรื่องความแตกต่างระหว่างความขัดแย้งและความรุนแรงในรูปแบบ
Round Robin
- ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน และจับฉลากเลือกค้นคว้าเกี่ยวกับเหตุการณ์สังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในแต่ละประเทศและในแต่ละทวีปที่มีเหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้น
ดังนี้
-
อเมริกา
(ชนเผ่าอินเดียนแดง)
-
กัมพูชา
(เขมรแดง)
-
ระวันดา
(ชนเผ่าฮูตู-ทุตซี)
-
จีน
(เมืองนานกิง)
-
เยอรมัน
(ฮิตเลอร์-ยิว)
-
ออสเตรเลีย
(ชนเผ่าอะบอริจิน)
- ครูให้โจทย์นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของสงครามหรือเหตุการณ์สังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
“ทำไมจึงมีเหตุการณ์ความรุนแรง การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์?”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคิดว่า
มีประเทศใดบ้างที่ไม่เคยมีเหตุการณ์ความรุนแรง การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- ครูแจกหนัง (แต่ละกลุ่มไม่เหมือนกัน) ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ที่นักเรียนศึกษาทุกกลุ่มไปดูร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้น ศึกษาข้อมูล
และบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม
- นักเรียนแต่ละคนนำเสนอเกี่ยวกับประเทศที่ไม่เคยมีเหตุการณ์ความรุนแรง
การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เกิดขึ้น
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกัน
ในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเรื่องที่ศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของสงครามหรือเหตุการณ์สังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในแต่ละประเทศ
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากการนำเสนอของเพื่อนแต่ละกลุ่ม
ในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการฟังเรื่องที่ศึกษาในรูปแบบ
Mind Mapping
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดงออกถึงความรู้สึกร่วมในรูปแบบต่างๆ
ตามความสนใจ (เขียนคำอุทิศ, แต่งบทกวี บทประพันธ์ เพลง, เขียนจดหมาย,
ใช้โวหารภาพพจน์)
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- วิเคราะห์และพูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
- ทำกิจกรรมการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
- ดูหนัง
- สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และนำเสนอประเทศใดบ้างที่ไม่เคยมีเหตุการณ์ความรุนแรง
การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เกิดขึ้น
- สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์
และนำเสนอเกี่ยวกับประวัติศาสตร์สาเหตุและบุคคลผู้มีอิทธิพลในแต่ละเหตุการณ์สังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- เขียน และสร้างชิ้นงานผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
-
กระดาษที่ใช้นำเสนอ
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
- เข้าใจประวัติศาสตร์ สาเหตุ และบุคคลสำคัญที่อยู่ในแต่ละเหตุการณ์การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- เข้าใจเรื่องการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
- สามารถวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความขัดแย้งและความรุนแรง
และเชื่อมโยงสู่การศึกษาเพื่อสันติภาพ
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์
เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
4
1-5 ก.พ. 2559
|
โจทย์
- เหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
- การแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ในอดีตส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบันอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอและร่วมอภิปรายเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
Round Robin
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ และกิจกรรมที่ทำ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- เก้าอี้
- ใบคำสั่ง
- วัสดุจากธรรมชาติ เช่น ใบไม้ กิ่งไม้ ดอกไม้
ก้อนหิน
- อินเตอร์เน็ต
|
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 3
กลุ่ม แต่ละกลุ่มจะได้รับเป้าหมายที่ต้องทำให้สำเร็จจากครูที่ต่างกัน (กลุ่ม1- ให้รวมเก้าอี้ไว้ที่กลางห้อง, กลุ่ม2-
ให้รวมเก้าอี้ไว้ที่ริมหน้าต่าง, กลุ่ม3-
ให้รวมเก้าอี้ไว้ที่ริมประตู) มีกติกาว่า
ห้ามแต่ละกลุ่มบอกเป้าหมายกับกลุ่มอื่นๆ
- เมื่อกิจกรรมดำเนินไปสักพัก ครูอาจขอตัวแทนของแต่ละกลุ่มมาพูดคุยตกลงกัน
- นักเรียนร่วมทำกิจกรรมร่วมกัน
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเรื่องการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
ในรูปแบบ Round Robin
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับปัญหาและวิธีแก้ปัญหาความขัดแย้งในบ้านและชุมชนของนักเรียน
ในรูปแบบ Round Robin
- ครูให้โจทย์นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้น ศึกษาข้อมูล
และบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเรื่องที่ศึกษาคือ
ผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรม ในปัจจุบัน
ในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจ (การ์ตูนช่อง, บทความ, Mind Mapping, Flow
Chart, ชาร์ตความรู้ ฯลฯ)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมอภิปรายผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรม
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดงออกถึงความรู้สึกร่วมในรูปแบบ
การจัดดอกไม้
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ทำกิจกรรมการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
- สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และนำเสนอเกี่ยวกับเหตุการณ์สังหารหมู่ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยน
แปลงด้านสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- สร้างชิ้นงานผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
- เข้าใจเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
- เข้าใจเรื่องการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์
เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5
8-12 ก.พ. 2559
|
โจทย์
- เหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบัน
- การแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ในอดีตส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบันอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอและร่วมอภิปรายเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบัน
Round Robin
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- กระดาษ
- เทปกาว
- อินเตอร์เน็ต
|
- ครูให้นักเรียนวาดดอกไม้ลงบนกระดาษ
- แต่ละกลีบให้นักเรียนเขียนคำสั้นๆ
ที่อธิบายตัวตนของนักเรียน
- ครูรวบรวบกระดาษและเขียนคำอธิบายตัวตนบนกระดาน
- ครูใช้เชือกแบ่งครึ่งห้องแบ่งนักเรียนเป็น 2 ฝั่ง ครูอ่านคำอธิบายตัวตนบนกระดานทีละคำ
นักเรียนที่มีตัวตนตรงกับที่ครูอ่านเดินไปที่ฝั่งที่กำหนด (ตัวอย่าง เช่น เพศชาย-หญิง, เป็นคนอำเภอลำปลายมาศ-นางรอง)
- นักเรียนร่วมทำกิจกรรมร่วมกัน
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเรื่องการเคารพความแตกต่างของ
อัตลักษณ์ของแต่ละบุคคล
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมอัตลักษณ์
ในรูปแบบ Round Robin
- ครูให้โจทย์นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองในปัจจุบัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้น ศึกษาข้อมูล
และบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเรื่องที่ศึกษาคือ ผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองในปัจจุบัน
ในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจ (การ์ตูนช่อง, บทความ, Mind Mapping, Flow
Chart, ชาร์ตความรู้ ฯลฯ)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมอภิปรายผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านการเมือง
การปกครองของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดงออกถึงความรู้สึกร่วม
ในรูปแบบการเขียนจดหมายถึงผู้มีอำนาจสั่งการในเหตุการณ์
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ทำกิจกรรมการแปรเปลี่ยน
ความขัดแย้ง
- สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์
และนำเสนอเกี่ยวกับเหตุการณ์สังหารหมู่ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยน
แปลงด้านการเมืองการปกครองของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- สร้างชิ้นงานผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
- เข้าใจเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบัน
- เข้าใจเรื่องการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์
เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
6
15-19 ก.พ. 2559
|
โจทย์
- เหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน
- การแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ในอดีตส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านระบบเศรษฐกิจในปัจจุบันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอและร่วมอภิปรายเกี่ยวกับผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจในปัจจุบัน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังที่ดู
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- เรื่องเล่า
- หนังเรื่อง Freedom Writer
- อินเตอร์เน็ต
|
- ครูเปิดหนังเรื่อง Freedom Writer
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
ในรูปแบบ Show and Share
- ครูให้โจทย์นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้น ศึกษาข้อมูล
และบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเรื่องที่ศึกษาคือ
ผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจในปัจจุบัน
ในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจ (การ์ตูนช่อง, บทความ, Mind Mapping, Flow
Chart, ชาร์ตความรู้ ฯลฯ)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมอภิปรายผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดงออกถึงความรู้สึกร่วมในรูปแบบต่างๆ
ตามความสนใจ (เขียนคำอุทิศ, แต่งบทกวี บทประพันธ์ เพลง, เขียนจดหมาย,
ใช้โวหารภาพพจน์) เพื่อบรรยายความลำบากในการกินอยู่
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ทำกิจกรรมการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
- สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์
และนำเสนอเกี่ยวกับเหตุการณ์สังหารหมู่ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยน
แปลงด้านระบบเศรษฐกิจของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
- เข้าใจเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน
- เข้าใจเรื่องการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์
เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
7
22-26 ก.พ. 2559
|
โจทย์
- เหตุการณ์ความรุนแรงในประเทศไทย
- การแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
Key Questions
- ประเทศไทยเคยมีเหตุการณ์ความรุนแรงหรือไม่?
เครื่องมือคิด
Round Table
พูดคุยแลกเปลี่ยนจากกิจกรรมที่ทำ
Place Mat
วิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากกิจกรรมที่ทำ
Round Robin
พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกันจากกิจกรรมที่ทำ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- คลิปเหตุการณ์ความรุนแรงในไทย (14 ต.ค. 2516, 6 ต.ค. 2519, พฤษภาทมิฬ)
คลิปรายการพื้นที่ชีวิต ตอนรอยเลือดที่รวันดา
- เชือกฟาง
- กระดาษ
- อินเตอร์เน็ต
|
- ครูเปิดคลิปเหตุการณ์ความรุนแรงในไทย (14 ต.ค. 2516, 6 ต.ค. 2519, พฤษภาทมิฬ)
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับผลของเหตุการณ์ความขัดแย้งในไทยส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบันในรูปแบบ
Place Mat
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดงออกถึงความรู้สึกร่วมในรูปแบบต่างๆ
ตามความสนใจ (เขียนคำอุทิศ, แต่งบทกวี บทประพันธ์ เพลง, เขียนจดหมาย,
ใช้โวหารภาพพจน์)ในรูปแบบการแต่งเพลง
- ครูให้นักเรียนดูคลิปรายการพื้นที่ชีวิต
ตอนรอยเลือดทีรวันดา
- ครูและนักเรียนทบทวนเหตุการณ์ที่รวันดาร่วมกัน
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับผู้ที่มีส่วนทำให้เกิดเหตุการณ์ในรวันดา
ในรูปแบบ Blackboard Share ในมิติขององค์กรทางสังคม
ซึ่งประกอบด้วย สถาบันครอบครัว, การเมืองการปกครอง, เศรษฐกิจ, การศึกษา, ศาสนา,
สื่อสารมวลชน ฯลฯ
- ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มตามองค์กรทางสังคม กลุ่มละ
2-3 คน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับองค์กรทางสังคมของนักเรียนมีส่วนทำให้เกิดความรุนแรงเพิ่มขึ้นที่รวันดาในรูปแบบ
Place Mat
- ครูขออาสามาสมัคร 2
คนมาอยู่กลางวงกลม เป็นสัญลักษณ์ของผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง
นักเรียนแต่ละกลุ่มยืนเป็นวงกลมล้อมรอบ
ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอคำตอบเมื่อพูดจบให้ส่งด้ายไหมพรมโยงไปหาอีกกลุ่ม
เป็นการสร้างปม
- นักเรียนที่เป็นอาสาสมัครนำเสนอความรู้สึกกับเพื่อนๆ
ที่อยู่นอกวงกลม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับ
ถ้านักเรียนเป็นผู้มีอำนาจในองค์กรทางสังคม
จะวิธีอย่างไรในการแก้ปัญหาความรุนแรงที่เกิดขึ้น
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอคำตอบการเชื่อมโยงกับกลุ่มอื่น
เมื่อพูดจบให้ส่งด้ายไหมพรมโยงคืนกลับมาหากลุ่มที่ส่งให้ในรอบแรก เป็นการแก้ปม
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกัน ในรูปแบบ Round
Robin
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องเล่าจากครู
และคลิปที่ดู
- เขียนผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- ทำกิจกรรมการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
- เข้าใจเหตุการณ์ความรุนแรงในประเทศไทย
- เข้าใจเรื่องการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์
เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
8
29-4 มี.ค. 2559
|
โจทย์
- มุมมองความขัดแย้งระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน
Key Questions
- คนไทยส่วนใหญ่มีมุมมองต่อประเทศเพื่อนบ้านอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอและร่วมอภิปรายเกี่ยวกับมุมมองของคนไทยต่อประเทศเพื่อนบ้าน
- พูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันจากกิจกรรมที่ทำ
และเรื่องที่อ่าน
Round Robin
พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกันจากกิจกรรมที่ทำ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- คลิปหนังเรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวร และก้านกล้วย
- กระดาษ
- บทความมุมมองใหม่ต่อพม่าในช่วงการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่
2
- อินเตอร์เน็ต
|
- ครูให้นักเรียนดูคลิปหนังเรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวร
และก้านกล้วย
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับหนังที่ได้ดูในรูปแบบ
Round Robin
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับความรู้สึกต่อประเทศเพื่อนบ้าน
ในรูปแบบ Round Robin
- ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม
และเลือกค้นคว้าเกี่ยวกับมุมมองของคนไทยต่อประเทศเพื่อนบ้าน ดังนี้
-
ลาว
(เจ้าอนุวงศ์)
-
พม่า
(เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2)
-
กัมพูชา
(ประสาทเขาพระวิหาร)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้น ศึกษาข้อมูล และบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเรื่องที่ศึกษา
คือมุมมองของไทยต่อประเทศเพื่อนบ้าน
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกัน ในรูปแบบ Round
Robin
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับในการที่จะเปิดประชาคมอาเซียนเร็วๆ
นี้ มุมมองต่อประเทศเพื่อนบ้านของไทย จะส่งผลดี
ผลเสียต่อประชาคมและกับประเทศไทยหรือไม่ อย่างไร ในรูปแบบ Round Robin
- ครูให้นักเรียนอ่านบทความมุมมองใหม่ต่อพม่าในช่วงการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่
2
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับบทความที่อ่าน
ในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหนัง และคลิปที่ดู
และเรื่องที่อ่าน
- เขียนแสดงความรู้สึกผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
-
สืบค้นข้อมูลและนำเสนอเกี่ยวกับมุมมองของคนไทยต่อประเทศเพื่อนบ้าน
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
เข้าใจมุมมองความขัดแย้งระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์
เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
9
7-11 มี.ค. 2559
|
โจทย์
- มองอนาคต
- เชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับตนเอง
- ถ่ายทอดความเข้าใจเรื่องที่ศึกษาและเรียนรู้มาตลอด
1 Quarter
Key Questions
-
จะเกิดอะไรขึ้นกับตัวเองและโลก ถ้าโลกนี้มีประชากรถึง 9,000 ล้านคน
- นักเรียนจะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter นี้
มาเชื่อมโยงกับตนเองและถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorm
ระดมความคิดเพื่อออกแบบรูปแบบในการนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
Round Robin
พูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกันจากกิจกรรมที่ทำ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- ข้อมูลจาก Website
-
เรื่องเล่าเกี่ยวกับปี ค.ศ. 2040
|
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “จากที่ได้เรียนมาตลอดทั้ง Quarter นักเรียนมีความรู้สึก เชื่อมโยงกับตนเองอย่างไร?”
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดง
ออกถึงความรู้สึกร่วมในรูปแบบการเขียนบทความ
- นักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกัน
ออกแบบรูปแบบในการนำเสนอ ในรูปแบบ Brainstorm
- ครูให้โจทย์นักเรียนทั้งห้องร่วมกันออกแบบการนำเสนอเรื่องที่ศึกษาและเรียนรู้ตลอด
1 Quarter
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคิดว่า ประเทศไทย
และโลกมีประชากรเท่าไร?”
- นักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกัน
ในรูปแบบ Round Robin
- ครูให้นักเรียนดูข้อมูลโลกในปัจจุบันแบบ
Real time จากเว็บไซต์ http://www.worldometers.info/ ได้แก่ ข้อมูลจำนวนประชากร จำนวนคนเกิด คนตาย ปริมาณการใช้น้ำ น้ำมัน
การตัดใช้ทำลายป่า เป็นต้น
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้รับ
ในรูปแบบ Round Robin
- ครูเล่าเรื่องในปี ค.ศ. 2040 โลกจะมีประชากรถึง 9,000 ล้านคน
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
เกี่ยวกับปี ค.ศ. 2040 ในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนสรุปความคิดเห็นของตัวเอง
ในรูปแบบ Infographic
- นักเรียนร่วมสรุปข้อมูลอีกครั้งเพื่อทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้
- นักเรียนร่วมออกแบบรูปแบบการนำเสนอส่งที่ได้เรียนรู้
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้ดู
เรื่องเล่าที่ได้ฟัง
- เตรียมความพร้อมถ่ายทอดความเข้าใจ
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุดชิ้นงาน
- Inforgraphic เกี่ยวกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในปี
ค.ศ. 2040
- บทความเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
เข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ของการกระทำที่ส่งผลต่อเหตุการณ์ที่เกิดจากเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์/สังหารหมู่ที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์
เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
- วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
10
14-18 มี.ค. 2559
|
โจทย์
สิ่งได้เรียนรู้ตลอด 1 Quarter
- ประเมินตนเอง
- ถ่ายทอดความเข้าใจเรื่องที่ศึกษาและเรียนรู้มาตลอด
1 Quarter
Key Questions
- นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง
และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม
- นักเรียนจะนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter นี้ มาถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอสิ่งที่เรียนรู้หลังเรียน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
|
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้ จากการเรียนรู้หน่วย ทุ่งสังหาร?”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและแต่ละคนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนใน Quarter นี้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ใน Quarter
นี้ นักเรียนคิดว่าสิ่งไหนที่ตนเองทำได้ดีแล้วมีสิ่งไหนที่ตนเองต้องพัฒนาเพิ่มเติม?”
- นักเรียนเขียนประเมินตนเองในสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
- นักเรียนช่วยกันเตรียมความพร้อมถ่ายทอดความเข้าใจ
- นักเรียนร่วมกันแสดงผลงานถ่ายทอดความเข้าใจ
- ครูและนักเรียนร่วมสรุปข้อมูลอีกครั้งเพื่อทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ตลอดภาคเรียนที่ 1
-นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- ครูและนักเรียนร่วมกันตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนแต่ละคนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนตลอด
1 Quarter ในรูปแบบ Mind
Mapping
|
ภาระงาน
- ทำ Mind
Mapping สรุปการเรียนรู้ทั้ง Quarter
- เขียนประเมินตนเองในสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนา
- แสดงผลงานถ่ายทอดความเข้าใจ
ชิ้นงาน
- งานตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind
Mappingสรุปการเรียนรู้ทั้ง Quarter
- งานเขียนประเมินตนเองในสิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ของการกระทำที่ส่งผลต่อเหตุการณ์ที่เกิดจากการทำสงคราม
การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลาก
หลายและแตกต่างจากตนเอง
ทักษะการเรียนรู้
- มีเป้าหมายในสิ่งที่เรียนรู้ มีความสนใจกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้กับตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์
เลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษา
ทักษะการวางแผน
วางแผนการทำงานเป็นขั้นเป็นตอนแบ่งหน้าที่ในการทำงานค้นหาข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับผู้อื่นได้
- สามารถสร้างชิ้นงานต่างๆผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วมเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นรับทราบได้
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
สร้างฉันทะ
สร้างแรงบันดาลใจ
-
เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
-
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
-
สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
|
มาตรฐาน ว 8.1
-
สามารถตั้งคำถามจากเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว
8.1 ม.1/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้
(ว 8.1 ม.1/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1 ม.1/7)
- สามารถจัดแสดงผลงานการออกแบบปฏิทิน
อธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและและกระบวนการทำงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ว 8.1 ม.1/9)
|
มาตรฐาน ส 1.1
-
เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้ (ส 1.1 ม.2/9)
-
เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส 1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส 1.2
- มีมรรยาทของความเป็น ศาสนิกชนที่ดี
(ส 1.2 ม.2/2)
มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง
เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(ส 2.2 ม.2/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน
ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม.2/2)
-
ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่ตนเองสนใจ
(ส 4.1 ม.3/2)
มาตรฐาน
ส 4.2
- เปรียบเทียบความ เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
(ส 4.2 ม.2/1)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ (ง 1.1 ม.1/2)
-
เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน
(ง 1.1 ม.2/1)
-
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (ง 1.1 ม.2/2)
-
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (ง 1.1 ม.2/3)
-
อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต
(ง 1.1 ม.4-6/1)
-
สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
(ง 1.1 ม.4-6/2)
-
มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 ม.4-6/3)
-
มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6/4)
-
มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสื่อเพื่อการดำรงชีวิต
(ง 1.1 ม.4-6/5)
-
มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน (ง 1.1
ม.4-6/6)
|
มาตรฐาน พ 1.1
-
ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์
สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(พ 1.1 ม.2/2)
มาตรฐาน พ 2.1
-
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(พ 2.1 ม.3/1)
-
วิเคราะห์สาเหตุและผลของความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นระหว่างผู้เรียน
หรือเยาวชนในชุมชน และเสนอแนวทางแก้ไข
(พ
2.1 ม.4-6/4)
มาตรฐาน พ 3.1
-
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม
คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน
(พ 3.1 ม.3/2)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
-
วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา
น้ำหนัก และวรรณะสี สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ
เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
(ศ 1.1 ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
(ศ 1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ 1.1 ม.3/7)
- สามารถวิเคราะห์ และวิจารณ์
เนื้อหาที่ได้ศึกษา เช่น จากการดู VDO การรับฟังจากที่ครูผู้สอน
ร่วมถึง ชิ้นงานของตนเองและผู้อื่นได้(ศ 1.1 ม.3/8)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(ส 2.1 ม.2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม
สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(ส 2.1ม.2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(ส 2.1 ม.2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย
เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(ส 2.1 ม.2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(ส 2.1 ม.3/5)
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(ส 2.2 ม.2/2)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
ประวัติศาสตร์
-
เหตุการณ์/ บุคคลสำคัญ
|
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว 8.1 ม.1/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้
(ว 8.1 ม.1/4)
-
วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุปทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐาน
และความผิดปกติของข้อมูลจากการสำรวจตรวจสอบ
(ว 8.1 ม.1/5)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1 ม.1/7)
- บันทึกและอธิบายจากการค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้
(ว 8.1 ม.1/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน
หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการทำงาน
ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ม.1/9)
|
มาตรฐาน ส 1.1
-
เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้ (ส 1.1 ม.1/6)
-
เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส 1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง
เศรษฐกิจ ที่มีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ในสังคมสมัยปัจจุบันได้
(ส 2.2 ม.2/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน
ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับเงินได้
(ส 4.1 ม.2.2)
-
ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับเงินและที่ตนเองสนใจ
(ส 4.1 ม.3/2)
มาตรฐาน
ส 4.2
- เปรียบเทียบความ
เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
(ส 4.2 ม.2/1)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน (ง 1.1 ม.2/1)
-
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (ง 1.1 ม.2/2)
-
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (ง 1.1 ม.2/3)
-
สามารถทำงานและอธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (ง 1.1
ม.3/1)
-
อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต
(ง 1.1 ม.4-6/1)
-
สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
(ง 1.1 ม.4-6/2)
-
มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 ม.4-6/3)
-
มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน(ง 1.1
ม.4-6/4)
-
มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1
ม.4-6/5)
-
มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6/6)
มาตรฐาน ง 2.1
-
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต
สังคมและสิ่งแวดล้อมและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
(ง 2.1 ม.2/4)
มาตรฐาน ง 3.1
-
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบวีดีโอได้
(ง 3.1 ม.3/3)
-
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงานได้จากจินตนาการอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ
(ง 3.1 ม.3/4)
-
ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต
(ง 3.1 ม.4-6/9)
-
อธิบายข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 3.1 ม.4-6/13)
|
มาตรฐาน พ 1.1
-
ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์
สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้ (พ 1.1 ม.2/2)
มาตรฐาน พ 2.1
-
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(พ 2.1 ม.3/1)
-
เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกัน
ลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัว (พ 2.1 ม.4-6/3)
-
วิเคราะห์สาเหตุและผลของความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นระหว่างผู้เรียน
หรือเยาวชนในชุมชน และเสนอแนวทางแก้ไข
(พ 2.1 ม.4-6/4)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
-
วาดภาพโดยใช้เทคนิคที่หลากหลายในการสื่อเรื่องราวต่างๆ (ศ 1.1 ม.2/3)
-
สามารถนำผลการวิจารณ์ไปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาของตนเองได้
(ศ 1.1 ม.2/5)
มาตรฐาน ศ 1.2
-
สามารถศึกษาและอธิบายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมได้
(ศ 1.2 ม.3/1)
มาตรฐาน ศ 2.1
-
บรรยายอารมณ์ของเพลงและความ
รู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง
(ศ 2.1 ม.2.5)
มาตรฐาน ศ 3.2
-
สามารถเปรียบเทียบลักษณะของการแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่างๆได้
(ศ 3.2 ม.2/1)
-
สามารถอธิบายความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละครในชีวิต ประจำวันได้
(ศ 3.2 ม.2/2)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น
(ส 2.1 ม.1/4)
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยว- ข้องกับตนเอง
ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(ส 2.1 ม.2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม
สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(ส 2.1 ม.2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(ส 2.1 ม.2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย
เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(ส 2.1 ม.2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(ส 2.1 ม.3/5)
มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(ส 2.2 ม.2/2)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
เหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อ
-
การเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรม ภาษา และความเชื่อในปัจจุบัน
-
การเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบัน
-
การเปลี่ยนแปลงด้านระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน
-
การเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษาในปัจจุบัน
|
มาตรฐาน ว 2.2
- อภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
(ว 2.2 ม.3/3)
- อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา
(ว 2.2 ม.3/5)
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว 8.1 ม.1/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้
(ว 8.1 ม.1/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1 ม.1/7)
- บันทึกและอธิบายจากการค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้
(ว 8.1 ม.1/8)
- สามารถจัดแสดงผลงาน
หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน
ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ม.1/9)
|
มาตรฐาน ส 1.1
-
เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส 1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส 2.1
- วิเคราะห์บทบาทความสำคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม
(ส 2.1 ม.2/3)
- วิเคราะห์ปัจจัยที่ให้เกิดความขัดแย้งในประเทศและเสนอแนวคิดในการลดความขัดแย้ง
(ส 2.1 ม.3/4)
-
เสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก (ส 2.1 ม.3/5)
มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง
เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2 ม.2/2)
- อธิบายระบบการปกครองแบบต่างๆ
ที่ใช้ในยุคปัจจุบัน
(ส 2.2 ม.3/1)
- วิเคราะห์เปรียบเทียบระบบการปกครองของไทยกับประเทศอื่นๆ
ที่มีการปกครองระบบประชาธิปไตย
(ส 2.2 ม.3/2)
มาตรฐาน 3.2
- อภิปรายระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ
(ส 3.2 ม.2/1)
- แสดงความคิดเห็นต่อนโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐที่มีผลต่อบุคคล
กลุ่มคน และประเทศชาติ
(ส 3.2 ม.3/3)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติ-ศาสตร์ในลักษณะต่างๆ
(ส 4.1 ม.2/1)
-
วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน
ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจได้
(ส 4.1 ม.2/2)
- เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ
(ส 4.1 ม.2/3)
- วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผล
ตามวิธีการทางประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม.3/1)
-
ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจและที่ตนเองสนใจ
(ส 4.1 ม.3/2)
- ตระหนักถึงความ
สำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยน
แปลงของมนุษยชาติ
(ส 4.1 ม.4-6/1)
มาตรฐาน
ส 4.2
- อธิบายพัฒนาการทางสังคม
เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคต่างๆ ในโลก โดยสังเขป
(ส 4.2 ม.3/1)
- วิเคราะห์ผลของการเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่ความร่วมมือและความขัดแย้งในคริสต์ศตวรรษที่
20 ตลอดจนความพยายามในการจัดการปัญหาความขัดแย้ง
(ส 4.2 ม.3/2)
- วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่างๆ
ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
(ส 4.2 ม.4-6/2)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน
(ง 1.1 ม.2/1)
-
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (ง 1.1 ม.2/2)
-
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (ง 1.1 ม.2/3)
-
สามารถทำงานและอธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (ง 1.1
ม.3/1)
-
อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต
(ง 1.1 ม.4-6/1)
-
สามารถสร้างผลงาน
อย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
(ง 1.1 ม.4-6/2)
-
มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 ม.4-6/3)
-
มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6/4 )
-
มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1
ม.4-6/5)
-
มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6/6)
มาตรฐาน ง 2.1
-
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต
สังคมและสิ่งแวดล้อมและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ง 2.1
ม.2/4)
มาตรฐาน ง 3.1
-
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบวีดีโอได้ (ง 3.1 ม.3/3)
-
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงานได้จากจินตนาการอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ
(ง 3.1 ม.3/4)
-
ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต
(ง 3.1 ม.4-6/9)
(ง 3.1
ม.4-6/13)
|
มาตรฐาน พ 1.1
-
ระบุปัจจัยที่มีผล
กระทบต่อการเจริญ
เติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์
สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(พ 1.1 ม.2/2)
มาตรฐาน พ 2.1
-
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(พ 2.1 ม.3/1)
-
เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกัน
ลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัว (พ 2.1 ม.4-6/3)
-
วิเคราะห์สาเหตุและผลของความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นระหว่างผู้เรียน
หรือเยาวชนในชุมชน และเสนอแนวทางแก้ไข
(พ 2.1 ม.4-6/4)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
-
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ
เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (ศ 1.1 ม.2/3)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(ส 2.1 ม.2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม
สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(ส 2.1 ม.2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(ส 2.1 ม.2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย
เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(ส 2.1 ม.2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(ส 2.1 ม.3/5)
มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคม
ไทยสมัยปัจจุบัน
(ส 2.2 ม.2/2)
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น